1.เปลี่ยนจากการใช้หลอดไส้ มาเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ หรือหลอดประสิทธิภาพพลังงาน คุณจะ
ประหยัดค่าไฟฟ้าลงได้ถึงร้อยละ 75
2.จัดวางแผนการเปลี่ยนหลอดไฟชนิดหลอดไส้ เมื่อคุณไม่สามารถเปลี่ยนไปซื้อหลอดฟลูออเรสเซนต์ (หลอดประสิทธิภาพพลังงาน) ได้ทั้งหมด ในครั้งเดียวกัน โดยแบ่งช่วงเวลาค่อย ๆ ซื้อเปลี่ยนอาจจะเป็น
อาทิตย์ละครั้งหรือเดือนละครั้ง จนวันที่คุณจะซื้อไว้บนปฏิทินในครัว เพื่อคุณจะไม่ลืม
3.ปิดไฟเมื่อคุณออกจากห้อง มีการตั้งกฎเพื่อเตือนสมาชิกในบ้านคุณให้ปิดไฟเมื่อออกจากห้องเช่นกัน รู้จักใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติ
4.จัดห้องคุณให้ได้แสงธรรมชาติมากขึ้น คุณสามารถลดจำนวนเงินในใบเสร็จค่าไฟฟ้าได้โดยวิธีง่ายๆ
คือย้ายโต๊ะเขียนหนังสือและเก้าอี้ไปไว้ใกล้หน้าต่าง
5.เปลี่ยนหลอดไฟแสงจ้าที่ใช้ไฟมาก โดยใช้หลอดฮาโลเจนขนาด 50-90 วัตต์แทนหลอดไส้ที่ใช้
ปริมาณวัตต์มากกว่าถึง 2 เท่าและยังให้แสงสว่างที่เพียงพอด้วย
6.ปลูกฝังให้เด็ก ๆ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการประหยัดพลังงานนี้โดยให้รางวัลแก่เด็กที่ช่วยใช้ไฟฟ้า
อย่างมีประสิทธิภาพและเชิญชวนกันรักษาสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสนใจที่จะช่วยกันปกป้องโลกในอนาคตด้วย
7.ศึกษารายละเอียดของผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับหลอดไฟชนิดต่าง ๆ จากร้านค้าที่โชว์สินค้าที่สามารถให้
ความรู้เกี่ยวกับการใช้หลอดไฟประสิทธิภาพพลังงาน คุณจะสามารถเรียนรู้ได้ในเวลาเพียงไม่กี่นาที
8.ทำความสะอาดหลอดไฟและอุปกรณ์ที่บ้านของคุณวิธีง่าย ๆ ที่ทำความสะอาดหลอดไฟนี้ จะเพิ่ม
แสงสว่างได้โดยที่ไม่ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น คุณควรจะทำความสะอาดหลอดไฟอย่างน้อยที่สุด 4 ครั้งต่อไปจะดีที่สุด
9.ใช้สีอ่อนทาผนัง ฝ้าเพดาน และวัสดุสีอ่อนปูพื้น เพราะค่าสะท้อนแสงจะช่วยให้แสงสว่างมากขึ้น
ทันทีที่คุณเริ่มใช้หลอดไฟอย่างมีประสิทธิภาพ คุณจะประหยัดได้ทั้งพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติ
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
หมายถึงพลังงานที่มีอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติและสามารถมีทดแทนได้อย่างไม่จำกัด (เมื่อเทียบกับพลังงานหลักในปัจจุบัน เช่น น้ำมันหรือถ่านหินซึ่งมีเฉพาะที่ และรวมถึงต้นทุนที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ในการสำรวจและขุดเจาะแหล่งน้ำมันใหม่ๆ) ตัวอย่าง พลังงานทดแทนที่สำคัญเช่นแสงอาทิตย์ ลม คลื่นทะเล กระแสน้ำ ความร้อนจากใต้ผิวโลก หลังงานจากกระบวกการชีวภาพเช่นบ่อก๊าซชีวภาพ
ค้นหา
วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
การให้ความเย็นแก่อาคาร
การให้ความเย็นแก่อาคารทำได้หลายวิธี การติดตั้งเครื่องปรับอากาศเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมสูงสุด
แต่ก็เป็นวิธีที่สูญเสียพลังงานมากที่สุด ดังนั้นการลดหรือป้องกันไม่ให้ความร้อนเข้าสู่อาคารจึงมีส่วนช่วย
อย่างสำคัญในการที่จะทำให้อาคารเย็นและสามารถลดขนาดของเครื่องปรับอากาศที่ใช้ ทำให้เกิดการ
ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้
1.การลดปริมาณรังสีความร้อนที่จะผ่านเข้าทางกระจกหน้าต่าง
ใช้อุปกรณ์เครื่องบังแดดภายนอกอาคารเพื่อมิให้กระจกถูกแดดโดยตรง
ผ้าใบ (Awning)เหมาะสำหรับผนังกระจกผืนใหญ่ เช่นห้างสรรพสินค้า
แผงครีบ (Fin) เหมาะสำหรับให้ร่มเงาแก่หน้าต่างกระจกที่หันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก
กันสาด (Overhang) จะให้ผลดีในการบังแดดสำหรับกระจกที่หันไปทางทิศใต้ ทิศตะวันออกเฉียง
ใต้หรือทิศตะวันตกเฉียงใต้
ต้นไม้ สามารถให้ร่มเงากระจกได้ดีทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเหมาะสำหรับอาคารท
ี่เตี้ยกว่าต้นไม้
- ผ้าม่านหรือมู่ลี่บังแดดภายในอาคารด้านหลังกระจก เป็นการป้องกัน รังสีความร้อนทางอ้อม ควร
เลือกชนิดใบอยู่ในแนวนอนสำหรับกระจกด้านทิศใต้ ส่วนกระจกด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกนั้น
ควรเลือกชนิดที่ใบอยู่ในแนวดิ่ง
- เลือกกระจกที่ยอมให้แสงคลื่นสั้นผ่านได้น้อย แต่ให้แสงที่ช่วยในการมองเห็นผ่านได้มาก เช่นชนิด
ที่เรียกว่า Heat Mirror หรือติดฟิล์มสะท้อนแสงไว้ด้านหลังแผ่นกระจก อาคารใดที่มีความจำเป็นต้องใช้
กระจก 2 ชั้น เพื่อป้องกันเสียงดังภายนอกแล้ว ควรให้กระจกชั้นนอกเป็นกระจกกรองแสง หรือติดฟิล์ม
สะท้อนแสงที่ด้านหลังของกระจกชั้นนอก ส่วนกระจกชั้นในเป็นกระจกใสธรรมดา จะใช้ลดความร้อนได้เป็น
อันมาก
- หลีกเลี่ยงการใช้ Skylight ที่หลังคา เนื่องจากรังสีความร้อนที่ส่งผ่าน Skylight จะมากกว่าที่ผ่าน
เข้ามาทางกระจกด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ทั้งมีค่าสูงตลอดวัน แต่ถ้าจำเป็นต้องออกแบบให้มี
Skylight ควรทำแผงเกล็ดบังแดด และออกแบบและติดตั้งให้ถูกทิศทาง
2. การลดการนำความร้อนผ่านผนังทึบ
- ใช้ฉนวนกันความร้อน จำพวก โพลีเอทธีลีนโฟม (Polyethylene Foam) ที่ปิดทับด้านนอกด้วยวัสดุ
ทนไฟ เช่น ซีเมนต์บล๊อกที่สอดไส้ด้วยแผ่นโฟม การบุฉนวนนี้ควรบุที่ด้านนอกของผนังจะดีที่สุดเพราะ
ความร้อนจะถูกเนื้อฉนวนป้องกันมิให้เข้ามาในอาคารไว้ตั้งแต่แรก
- ทาสีด้านอกของกำแพงด้วยสีขาว สีครีม ใช้วัสดุที่มีผิวมันสีอ่อน
- ทำที่บังแดด อาจเป็นแผงครีบในแนวดิ่งหรือแนวนอน เพื่อให้กำแพงอยู่ในร่มเงาตลอดทั้งวัน แต่ควร
ให้อากาศภายนอกไหลผ่านช่องว่างระหว่างที่บังแดดและตัวผนังได้โดยสะดวก เพื่อมิให้เกิดการสะสมของ
ความร้อนขึ้น
3.การลดการนำความร้อนผ่านหลังคา
- ใช้ฉนวนกับความร้อนจำพวกเดียวกับที่ใช้บุผนัง โดยบุแนบกับพื้นล่างของหลังคาที่ส่วนที่ทึบแสงหรือ
บนเพดานใต้หลังคาเพื่อลดการถ่ายเทความร้อน
- ใช้สีสะท้อนแสง สีกันความร้อนทำจากเซรามิก (Ceramic Coating) กระเบื้องสีอ่อนหรือก้อนกรวด
สีขาว ปูที่ผิวด้านบนของหลังคาเพื่อลดการดูดกลืนความร้อน
- ทำหลังคาบังแดด ซึ่งอาจเป็นหลังคาชนิดเบาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อให้อากาศสามารถถ่ายเทระหว่างกลาง
ได้สะดวกเป็นการป้องกันมิให้หลังคาอาคารถูกแดดโดยตรง
- ป้องกันมิให้ Skylight ถูกแดดโดยตรง
- ใช้แผ่นฟิล์มอะลูมินั่มบาง ๆ ที่สะท้อนรังสีความร้อนได้ดี (Reflective Aluminum Film) ติดตั้ง
ไว้ที่ด้านล่างของหลังคา
4. การลดความร้อนจากเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในอาคาร
- ติดตั้งเครื่องใช้ในสำนักงานบางส่วน เช่นเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์แบบไว้นอกห้องปรับอากาศ
- ปิดไฟแสงสว่างและเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อเลิกใช้
- ติดตั้ง Hood (เครื่องดูดกลิ่นหรือดูดควัน) ที่มีประสิทธิภาพสำหรับการหุงต้มทุกชนิด อากาศที่ใช้กับ
Hood ควรมาจากภายนอกอาคารไม่ควรใช้อากาศเย็นจากเครื่องปรับอากาศโดยตรง
-ภาชนะใดที่มีอุณหภูมิผิวหน้าค่อนข้างสูง ควรหุ้มด้วยฉนวนกันความร้อน
5.การลดอัตราการรั่วซึมของอากาศเย็นออกภายนอกให้น้อยลง
-รอยต่อต่าง ๆ เช่น ตามวงกบบานหน้าต่าง และประตูกับกำแพงระหว่างผนังกับฐานราก ระหว่างกำแพง
กับหลังคา รอยต่อระหว่างผนัง หรือช่องเจาะเตรียมไว้ที่พื้นผนังหรือหลังคาสำหรับการเดินท่อต่างๆ ต้องอุด
ให้สนิทด้วยซีเมนต์และซิลิโคน (Silicone)
-ห้างสรรพสินค้าควรใช้บานประตู 2 ชั้น (Vestibule) สำหรับทางเข้าที่มีการสัญจรของผู้คนมาก
-ประตูชั้นดาดฟ้า เช่น ประตูห้องเครื่องลิฟท์หรือประตูที่เปิดสู่นอกอาคารต้องปิดให้สนิทอยู่เสมอ
-ควรมีผนังกันช่องบันไดที่เดินทางผ่านระหว่างชั้นออกจากบริเวณที่มีการปรับอากาศในแต่ละชั้น
6. การลดอัตราการระบายอากาศ
อาคารที่มีการปรับอากาศทุกหลังคาต้องนำอากาศบริสุทธิ์ภายนอกส่วนหนึ่งเข้ามาเพื่อระบายกลิ่น
ตัวคน สารเคมีที่เกิดจากสิ่งตกแต่งอาคารและอุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ โดยเหตุที่อากาศภายนอกที่เข้ามา
นี้ทั้งร้อนและชื้น หากนำอากาศภายนอกเข้ามามากจะทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักขึ้นและสิ้นเปลือง
พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
-ควรจัดให้มีห้องสูบบุหรี่แยกต่างหากจากห้องทำงาน
-ติดตั้งแผ่นกรองอากาศซึ่งทำจากผงถ่าน หรือใช้เครื่องฟอกอากาศเพื่อลดกลิ่น
-ติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างอากาศเสียที่เย็นภายในอาคารซึ่งต้องการดูดทิ้งไปกับอากาศ
ร้อนที่บริสุทธิ์ซึ่งจะนำเข้ามาในอาคาร
-ในช่วงเวลาที่มีคนอยู่น้อยภายในอาคาร เช่น ในตอนเช้าก่อนเริ่มทำงานประมาณ 1 ชั่วโมง ช่วงพัก
เที่ยง ในตอนเย็นก่อนเลิกงานครึ่งชั่วโมง หรือในห้างสรรพสินค้าช่วงที่มีลูกค้าน้อย ควรปิดพัดลมดูด
อากาศบริสุทธิ์เข้ามาในอาคารโดยผ่านการกรองเพื่อลดฝุ่นละออง กลิ่นและมลพิษทางอากาศ
7.การใช้งานเครื่องทำน้ำเย็นอย่างถูกวิธี
เครื่องทำน้ำเย็นเป็นเครื่องจักรกลที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากที่สุดในระบบปรับอากาศขนาดใหญ่การใช้
งานอย่างถูกต้องจะช่วยประหยัดพลังงานได้เป็นจำนวนมากซึ่งทำได้ 4 วิธี คือ
-ปรับตั้งอุณหภูมิน้ำเย็นที่ออกจากเครื่องทำน้ำเย็นให้สูงขึ้นได้โดยไม่ทำให้เกิดผลเสียแก่อุณหภูมิที่
ต้องการควบคุมภายในอาคารสามารถประหยัดพลังงานของเครื่องทำน้ำเย็นได้ร้อยละ 1.5-2.0 สำหรับทุก ๆ
0.5 0C ของอุณหภูมิน้ำเย็นที่เพิ่มสูงขึ้น
-ลดอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นจากคูลลิ่งทาวเวอร์ที่เข้าสู่คอนเดนเซอร์โดยการเดินคูลลิ่งทาวเวอร์ชุดสำรอง
ในขณะที่ความร้อนภายในอาคารเกิดขึ้นสูงสุด สามารถประหยัดพลังงานของเครื่องทำน้ำเย็นได้ร้อยละ
1.5-2.0 สำหรับทุก ๆ 0.5 0C ของอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นที่ลดต่ำลง
-ควบคุมค่าความต้องการไฟฟ้า (Electric Demand) ของเครื่องทำน้ำเย็นมิให้สูงเกินไป
-จัดลำดับการเดินเครื่องทำน้ำเย็น ให้สอดคล้องกับปริมาณความร้อนที่เกิดขึ้นภายในอาคาร โดยเดิน
เครื่องให้น้อยชุดที่สุด แต่เครื่องทุกชุดทำงาน เต็มที่ใกล้ร้อยละ 100 อยู่เสมอ
8. การติดตั้งและการใช้งานเครื่องปรับอากาศอย่างถูกวิธี
-ติดตั้งชุดคอนเดนเซอร์ระบายความร้อนด้วยอากาศ(Air Cooled Condenser) และคูลลิ่งทาวเวอร์
(Cooling Tower) ไว้ในที่ร่มหรือที่ถูกแดดน้อยที่สุด
-ขจัดสิ่งกีดขวางทางลมเข้าและออกจากชุดคอนเดนเซอร์ระบายความร้อนด้วยอากาศและคูลลิ่งทาวเวอร์
-หลีกเลี่ยงการติดตั้งในลักษณะลมร้อนจากชุดคอนเดนเซอร์ระบายความร้อนด้วยอากาศปะทะกับลม
ธรรมชาติโดยตรง
-ปรับตั้งเทอร์โมสตัส (Termostat) เพื่อรักษาอุณหภูมิภายในอาคารมิให้ต่ำเกินกว่า 25.5 0C
-เลือกใช้เทอร์โมสตัท (Thermostat)ที่มีคุณภาพดี เช่น แบบอิเล็กทรอนิคส์ มิให้มีการแกว่งของ
อุณหภูมิเกินกว่า 0.5-1 0C
-หมั่นล้างแผ่นกรองอากาศและคอยล์ทำความเย็นให้สะอาดอยู่เสมอ
-หมั่นล้างคอนเดนเซอร์ (Condenser) และคูลลิ่งทาวเวอร์ (Cooling Tower) ให้สะอาดเพื่อให้การ
ระบายความร้อนของตัวเครื่องเป็นไปโดยสะดวกและใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยลง
-ปรับแต่งคุณภาพน้ำในคูลลิ่งทาวเวอร์ให้ปราศจากตะกรัน สาหร่ายและตะไคร่น้ำ
-ปรับแต่สายพานพัดลมของคอยล์ทำความเย็น ให้มีความตึงพอเหมาะ ไม่หย่อนเกินไป
-หล่อลื่น แบริ่งของพัดลมคอยล์ทำความเย็นทุกชุดอย่างสม่ำเสมอ
-ซ่อมฉนวนท่อ
-อุดรูรั่วของท่อลมเย็น
การปรับปรุงง่าย ๆ เบื้องต้นเพื่อให้อาคารมีความเย็น
-อย่างให้ผนังกระจกและหน้าต่างถูกแสงอาทิตย์โดยตรง เพราะความร้อนจะผ่านเข้ามาในอาคารเพิ่มขึ้น
-ปรับปรุงทาสีผนังอาคารภายนอกให้เป็นสีขาวหรือสีอ่อน เพื่อช่วยสะท้อนความร้อนจากแสงอาทิตย์
-ติดตั้งกันสาด แผงครีบ ผ้าใบ หรือปลูกต้นไม้บังแดดให้กับตัวอาคาร
-ปรับปรุงหลังคาโดยบุฉนวนเพดาน หรือติดแผ่นฟิล์มอะลูมินั่มสะท้อนรังสีความร้อนไม่ให้เข้าตัวอาคาร
หรือทำเครื่องบังแดดให้หลังคาไม่ถูกแสงอาทิตย์กระทบโดยตรง
-ปรับปรุงประตูทางเข้าของอาคารที่มีผู้คนเดินทางออกบ่อย ๆ เพื่อให้อากาศเย็นไหลออกน้อยที่สุด
เช่นประตูทางเข้า ห้างสรรพสินค้า ประตูทางเข้าอาคารสำนักงาน
-หมั่นทำความสะอาดอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ เช่นแผ่นกรองอากาศ และคอยล์ทำความเย็น
หอผึ่งเย็น (Cooling Tower) เพื่อให้ระบายความร้อนได้ดีและลดการใช้ไฟฟ้า
-หลีกเลี่ยงการจัดวางหรือติดตั้งอุปกรณ์ที่มีการระบายความร้อนไว้ในบริเวณห้องที่มีการปรับอากาศ
เช่นไม่ตั้งเครื่องถ่ายเอกสารในห้องปรับอากาศ
หากอาคารนั้นได้รับการออกแบบตั้งแต่ต้นโดยคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีส่วนนำความร้อนเข้าใน
อาคารและเลือกใช้วัสดุกันความร้อนได้ดีให้กับอาคารหรือปรับปรุงอาคารที่มีอยู่แล้วโดยวิธีง่าย ๆ เบื้องต้น
ก็จะป้องกันความร้อนให้เข้าสู่อาคารได้น้อยที่สุด ทำให้อาคารมีการใช้พลังงานไฟฟ้าในการทำความเย็น
ให้กับอาคารได้อย่างประหยัด
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
แต่ก็เป็นวิธีที่สูญเสียพลังงานมากที่สุด ดังนั้นการลดหรือป้องกันไม่ให้ความร้อนเข้าสู่อาคารจึงมีส่วนช่วย
อย่างสำคัญในการที่จะทำให้อาคารเย็นและสามารถลดขนาดของเครื่องปรับอากาศที่ใช้ ทำให้เกิดการ
ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้
1.การลดปริมาณรังสีความร้อนที่จะผ่านเข้าทางกระจกหน้าต่าง
ใช้อุปกรณ์เครื่องบังแดดภายนอกอาคารเพื่อมิให้กระจกถูกแดดโดยตรง
ผ้าใบ (Awning)เหมาะสำหรับผนังกระจกผืนใหญ่ เช่นห้างสรรพสินค้า
แผงครีบ (Fin) เหมาะสำหรับให้ร่มเงาแก่หน้าต่างกระจกที่หันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก
กันสาด (Overhang) จะให้ผลดีในการบังแดดสำหรับกระจกที่หันไปทางทิศใต้ ทิศตะวันออกเฉียง
ใต้หรือทิศตะวันตกเฉียงใต้
ต้นไม้ สามารถให้ร่มเงากระจกได้ดีทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเหมาะสำหรับอาคารท
ี่เตี้ยกว่าต้นไม้
- ผ้าม่านหรือมู่ลี่บังแดดภายในอาคารด้านหลังกระจก เป็นการป้องกัน รังสีความร้อนทางอ้อม ควร
เลือกชนิดใบอยู่ในแนวนอนสำหรับกระจกด้านทิศใต้ ส่วนกระจกด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกนั้น
ควรเลือกชนิดที่ใบอยู่ในแนวดิ่ง
- เลือกกระจกที่ยอมให้แสงคลื่นสั้นผ่านได้น้อย แต่ให้แสงที่ช่วยในการมองเห็นผ่านได้มาก เช่นชนิด
ที่เรียกว่า Heat Mirror หรือติดฟิล์มสะท้อนแสงไว้ด้านหลังแผ่นกระจก อาคารใดที่มีความจำเป็นต้องใช้
กระจก 2 ชั้น เพื่อป้องกันเสียงดังภายนอกแล้ว ควรให้กระจกชั้นนอกเป็นกระจกกรองแสง หรือติดฟิล์ม
สะท้อนแสงที่ด้านหลังของกระจกชั้นนอก ส่วนกระจกชั้นในเป็นกระจกใสธรรมดา จะใช้ลดความร้อนได้เป็น
อันมาก
- หลีกเลี่ยงการใช้ Skylight ที่หลังคา เนื่องจากรังสีความร้อนที่ส่งผ่าน Skylight จะมากกว่าที่ผ่าน
เข้ามาทางกระจกด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ทั้งมีค่าสูงตลอดวัน แต่ถ้าจำเป็นต้องออกแบบให้มี
Skylight ควรทำแผงเกล็ดบังแดด และออกแบบและติดตั้งให้ถูกทิศทาง
2. การลดการนำความร้อนผ่านผนังทึบ
- ใช้ฉนวนกันความร้อน จำพวก โพลีเอทธีลีนโฟม (Polyethylene Foam) ที่ปิดทับด้านนอกด้วยวัสดุ
ทนไฟ เช่น ซีเมนต์บล๊อกที่สอดไส้ด้วยแผ่นโฟม การบุฉนวนนี้ควรบุที่ด้านนอกของผนังจะดีที่สุดเพราะ
ความร้อนจะถูกเนื้อฉนวนป้องกันมิให้เข้ามาในอาคารไว้ตั้งแต่แรก
- ทาสีด้านอกของกำแพงด้วยสีขาว สีครีม ใช้วัสดุที่มีผิวมันสีอ่อน
- ทำที่บังแดด อาจเป็นแผงครีบในแนวดิ่งหรือแนวนอน เพื่อให้กำแพงอยู่ในร่มเงาตลอดทั้งวัน แต่ควร
ให้อากาศภายนอกไหลผ่านช่องว่างระหว่างที่บังแดดและตัวผนังได้โดยสะดวก เพื่อมิให้เกิดการสะสมของ
ความร้อนขึ้น
3.การลดการนำความร้อนผ่านหลังคา
- ใช้ฉนวนกับความร้อนจำพวกเดียวกับที่ใช้บุผนัง โดยบุแนบกับพื้นล่างของหลังคาที่ส่วนที่ทึบแสงหรือ
บนเพดานใต้หลังคาเพื่อลดการถ่ายเทความร้อน
- ใช้สีสะท้อนแสง สีกันความร้อนทำจากเซรามิก (Ceramic Coating) กระเบื้องสีอ่อนหรือก้อนกรวด
สีขาว ปูที่ผิวด้านบนของหลังคาเพื่อลดการดูดกลืนความร้อน
- ทำหลังคาบังแดด ซึ่งอาจเป็นหลังคาชนิดเบาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อให้อากาศสามารถถ่ายเทระหว่างกลาง
ได้สะดวกเป็นการป้องกันมิให้หลังคาอาคารถูกแดดโดยตรง
- ป้องกันมิให้ Skylight ถูกแดดโดยตรง
- ใช้แผ่นฟิล์มอะลูมินั่มบาง ๆ ที่สะท้อนรังสีความร้อนได้ดี (Reflective Aluminum Film) ติดตั้ง
ไว้ที่ด้านล่างของหลังคา
4. การลดความร้อนจากเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในอาคาร
- ติดตั้งเครื่องใช้ในสำนักงานบางส่วน เช่นเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์แบบไว้นอกห้องปรับอากาศ
- ปิดไฟแสงสว่างและเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อเลิกใช้
- ติดตั้ง Hood (เครื่องดูดกลิ่นหรือดูดควัน) ที่มีประสิทธิภาพสำหรับการหุงต้มทุกชนิด อากาศที่ใช้กับ
Hood ควรมาจากภายนอกอาคารไม่ควรใช้อากาศเย็นจากเครื่องปรับอากาศโดยตรง
-ภาชนะใดที่มีอุณหภูมิผิวหน้าค่อนข้างสูง ควรหุ้มด้วยฉนวนกันความร้อน
5.การลดอัตราการรั่วซึมของอากาศเย็นออกภายนอกให้น้อยลง
-รอยต่อต่าง ๆ เช่น ตามวงกบบานหน้าต่าง และประตูกับกำแพงระหว่างผนังกับฐานราก ระหว่างกำแพง
กับหลังคา รอยต่อระหว่างผนัง หรือช่องเจาะเตรียมไว้ที่พื้นผนังหรือหลังคาสำหรับการเดินท่อต่างๆ ต้องอุด
ให้สนิทด้วยซีเมนต์และซิลิโคน (Silicone)
-ห้างสรรพสินค้าควรใช้บานประตู 2 ชั้น (Vestibule) สำหรับทางเข้าที่มีการสัญจรของผู้คนมาก
-ประตูชั้นดาดฟ้า เช่น ประตูห้องเครื่องลิฟท์หรือประตูที่เปิดสู่นอกอาคารต้องปิดให้สนิทอยู่เสมอ
-ควรมีผนังกันช่องบันไดที่เดินทางผ่านระหว่างชั้นออกจากบริเวณที่มีการปรับอากาศในแต่ละชั้น
6. การลดอัตราการระบายอากาศ
อาคารที่มีการปรับอากาศทุกหลังคาต้องนำอากาศบริสุทธิ์ภายนอกส่วนหนึ่งเข้ามาเพื่อระบายกลิ่น
ตัวคน สารเคมีที่เกิดจากสิ่งตกแต่งอาคารและอุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ โดยเหตุที่อากาศภายนอกที่เข้ามา
นี้ทั้งร้อนและชื้น หากนำอากาศภายนอกเข้ามามากจะทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักขึ้นและสิ้นเปลือง
พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
-ควรจัดให้มีห้องสูบบุหรี่แยกต่างหากจากห้องทำงาน
-ติดตั้งแผ่นกรองอากาศซึ่งทำจากผงถ่าน หรือใช้เครื่องฟอกอากาศเพื่อลดกลิ่น
-ติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างอากาศเสียที่เย็นภายในอาคารซึ่งต้องการดูดทิ้งไปกับอากาศ
ร้อนที่บริสุทธิ์ซึ่งจะนำเข้ามาในอาคาร
-ในช่วงเวลาที่มีคนอยู่น้อยภายในอาคาร เช่น ในตอนเช้าก่อนเริ่มทำงานประมาณ 1 ชั่วโมง ช่วงพัก
เที่ยง ในตอนเย็นก่อนเลิกงานครึ่งชั่วโมง หรือในห้างสรรพสินค้าช่วงที่มีลูกค้าน้อย ควรปิดพัดลมดูด
อากาศบริสุทธิ์เข้ามาในอาคารโดยผ่านการกรองเพื่อลดฝุ่นละออง กลิ่นและมลพิษทางอากาศ
7.การใช้งานเครื่องทำน้ำเย็นอย่างถูกวิธี
เครื่องทำน้ำเย็นเป็นเครื่องจักรกลที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากที่สุดในระบบปรับอากาศขนาดใหญ่การใช้
งานอย่างถูกต้องจะช่วยประหยัดพลังงานได้เป็นจำนวนมากซึ่งทำได้ 4 วิธี คือ
-ปรับตั้งอุณหภูมิน้ำเย็นที่ออกจากเครื่องทำน้ำเย็นให้สูงขึ้นได้โดยไม่ทำให้เกิดผลเสียแก่อุณหภูมิที่
ต้องการควบคุมภายในอาคารสามารถประหยัดพลังงานของเครื่องทำน้ำเย็นได้ร้อยละ 1.5-2.0 สำหรับทุก ๆ
0.5 0C ของอุณหภูมิน้ำเย็นที่เพิ่มสูงขึ้น
-ลดอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นจากคูลลิ่งทาวเวอร์ที่เข้าสู่คอนเดนเซอร์โดยการเดินคูลลิ่งทาวเวอร์ชุดสำรอง
ในขณะที่ความร้อนภายในอาคารเกิดขึ้นสูงสุด สามารถประหยัดพลังงานของเครื่องทำน้ำเย็นได้ร้อยละ
1.5-2.0 สำหรับทุก ๆ 0.5 0C ของอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นที่ลดต่ำลง
-ควบคุมค่าความต้องการไฟฟ้า (Electric Demand) ของเครื่องทำน้ำเย็นมิให้สูงเกินไป
-จัดลำดับการเดินเครื่องทำน้ำเย็น ให้สอดคล้องกับปริมาณความร้อนที่เกิดขึ้นภายในอาคาร โดยเดิน
เครื่องให้น้อยชุดที่สุด แต่เครื่องทุกชุดทำงาน เต็มที่ใกล้ร้อยละ 100 อยู่เสมอ
8. การติดตั้งและการใช้งานเครื่องปรับอากาศอย่างถูกวิธี
-ติดตั้งชุดคอนเดนเซอร์ระบายความร้อนด้วยอากาศ(Air Cooled Condenser) และคูลลิ่งทาวเวอร์
(Cooling Tower) ไว้ในที่ร่มหรือที่ถูกแดดน้อยที่สุด
-ขจัดสิ่งกีดขวางทางลมเข้าและออกจากชุดคอนเดนเซอร์ระบายความร้อนด้วยอากาศและคูลลิ่งทาวเวอร์
-หลีกเลี่ยงการติดตั้งในลักษณะลมร้อนจากชุดคอนเดนเซอร์ระบายความร้อนด้วยอากาศปะทะกับลม
ธรรมชาติโดยตรง
-ปรับตั้งเทอร์โมสตัส (Termostat) เพื่อรักษาอุณหภูมิภายในอาคารมิให้ต่ำเกินกว่า 25.5 0C
-เลือกใช้เทอร์โมสตัท (Thermostat)ที่มีคุณภาพดี เช่น แบบอิเล็กทรอนิคส์ มิให้มีการแกว่งของ
อุณหภูมิเกินกว่า 0.5-1 0C
-หมั่นล้างแผ่นกรองอากาศและคอยล์ทำความเย็นให้สะอาดอยู่เสมอ
-หมั่นล้างคอนเดนเซอร์ (Condenser) และคูลลิ่งทาวเวอร์ (Cooling Tower) ให้สะอาดเพื่อให้การ
ระบายความร้อนของตัวเครื่องเป็นไปโดยสะดวกและใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยลง
-ปรับแต่งคุณภาพน้ำในคูลลิ่งทาวเวอร์ให้ปราศจากตะกรัน สาหร่ายและตะไคร่น้ำ
-ปรับแต่สายพานพัดลมของคอยล์ทำความเย็น ให้มีความตึงพอเหมาะ ไม่หย่อนเกินไป
-หล่อลื่น แบริ่งของพัดลมคอยล์ทำความเย็นทุกชุดอย่างสม่ำเสมอ
-ซ่อมฉนวนท่อ
-อุดรูรั่วของท่อลมเย็น
การปรับปรุงง่าย ๆ เบื้องต้นเพื่อให้อาคารมีความเย็น
-อย่างให้ผนังกระจกและหน้าต่างถูกแสงอาทิตย์โดยตรง เพราะความร้อนจะผ่านเข้ามาในอาคารเพิ่มขึ้น
-ปรับปรุงทาสีผนังอาคารภายนอกให้เป็นสีขาวหรือสีอ่อน เพื่อช่วยสะท้อนความร้อนจากแสงอาทิตย์
-ติดตั้งกันสาด แผงครีบ ผ้าใบ หรือปลูกต้นไม้บังแดดให้กับตัวอาคาร
-ปรับปรุงหลังคาโดยบุฉนวนเพดาน หรือติดแผ่นฟิล์มอะลูมินั่มสะท้อนรังสีความร้อนไม่ให้เข้าตัวอาคาร
หรือทำเครื่องบังแดดให้หลังคาไม่ถูกแสงอาทิตย์กระทบโดยตรง
-ปรับปรุงประตูทางเข้าของอาคารที่มีผู้คนเดินทางออกบ่อย ๆ เพื่อให้อากาศเย็นไหลออกน้อยที่สุด
เช่นประตูทางเข้า ห้างสรรพสินค้า ประตูทางเข้าอาคารสำนักงาน
-หมั่นทำความสะอาดอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ เช่นแผ่นกรองอากาศ และคอยล์ทำความเย็น
หอผึ่งเย็น (Cooling Tower) เพื่อให้ระบายความร้อนได้ดีและลดการใช้ไฟฟ้า
-หลีกเลี่ยงการจัดวางหรือติดตั้งอุปกรณ์ที่มีการระบายความร้อนไว้ในบริเวณห้องที่มีการปรับอากาศ
เช่นไม่ตั้งเครื่องถ่ายเอกสารในห้องปรับอากาศ
หากอาคารนั้นได้รับการออกแบบตั้งแต่ต้นโดยคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีส่วนนำความร้อนเข้าใน
อาคารและเลือกใช้วัสดุกันความร้อนได้ดีให้กับอาคารหรือปรับปรุงอาคารที่มีอยู่แล้วโดยวิธีง่าย ๆ เบื้องต้น
ก็จะป้องกันความร้อนให้เข้าสู่อาคารได้น้อยที่สุด ทำให้อาคารมีการใช้พลังงานไฟฟ้าในการทำความเย็น
ให้กับอาคารได้อย่างประหยัด
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
วิธีประหยัดพลังงาน
1. อย่าใช้กระดาษหน้าเดียวทิ้ง ให้ใช้กระดาษอย่างคุ้มค่าใช้ทั้งสองหน้า ให้นึกเสมอว่า
กระดาษแต่ละแผ่นย่อมหมายถึงต้นไม้ หนึ่งต้นที่ต้องเสียไป
2. ในสำนักงานให้ใช้การส่งเอกสารต่อๆ กัน แทนการสำเนาเอกสารหลายๆ ชุด เพื่อ
ประหยัดกระดาษ ประหยัดพลังงาน
3. ลดการสูญเสียกระดาษเพิ่มมากขึ้น ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้กระดาษปะหน้าโทรสาร
ชนิดเต็มแผ่น และหันมาใช้กระดาษขนาดเล็ก ที่สามารถตัดพับบนโทรสารได้ง่าย
4. ใช้การส่งผ่านข้อมูลข่าวสารต่างๆ ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยโมเด็มหรือแผ่นดิสก์
แทนการส่งข่าวสารข้อมูลโดยเอกสาร ช่วยลดขั้นตอนการทำงานลดการใช้พลังงานได้มาก
5. หลีกเลี่ยงการใช้จานกระดาษ แก้วน้ำกระดาษ เวลาจัดงานสังสรรค์ต่างๆ เพราะ
สิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต
6. รู้จักแยกแยะประเภทขยะ เพื่อช่วยลดขั้นตอน และลดพลังงานในการทำลายขยะและ
ทำให้ขยะทั้งหลายง่ายต่อการกำจัด
7. หนังสือพิมพ์อ่านเสร็จแล้วอย่าทิ้ง ให้เก็บไว้ขาย หรือพับถุง เก็บไว้ทำอะไรอย่าง อื่น
ใช้ซ้ำทุกครั้งถ้าทำได้ ช่วยลดการใช้พลังงานในการผลิต
8. ขึ้นลงชั้นเดียวหรือสองชั้น ไม่จำเป็นต้องใช้ลิฟท์ จำไว้เสมอว่าการกดลิฟท์แต่ละครั้ง
สูญเสียพลังงานถึง 7 บาท
9. งด เลิก บริโภคผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้งเลย เพราะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ้นเปลือง เพิ่มปริมาณขยะ เปลืองพลังงานในการกำจัดชยะ
10. ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีบรรจุภัณฑ์ที่ยากต่อการทำลาย เช่น โฟม หรือพลาสติก ควรเลือก
ใช้บรรจุภัณฑ์ที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) หรือนำไปผ่านกระบวนการผลิตมาใช้ใหม่ได้
(Recycle)
11. สนับสนุนสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ เป็นวัสดุที่สามารถนำมาผ่านกระบวนการนำมาใช้ใหม่
(Recycle) เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติกบางประเภท โดยจัดให้มีการแยกขยะใน
ครัวเรือนและในสำนักงาน
12. ให้ความร่วมมือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน
ที่รณรงค์ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์พลังงาน
13. กระตุ้นเตือนให้ผู้อื่นช่วยกันประหยัดพลังงาน โดยการติดสัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย
ให้ช่วยประหยัดไฟ ตรงบริเวณใกล้สวิทช์ไฟ เพื่อเตือนให้ปิดเมื่อเลิกใช้แล้ว
คนไทยสามารถกอบกู้เศรษฐกิจ ของชาติได้ด้วยการสร้างพฤติกรรม ประหยัดพลังงานอย่าง
มีประสิทธิภาพ ไม่ใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย เกินความจำเป็นอีกต่อไป มาร่วมมือกัน ช่วยกันทั้ง
ประเทศ ลงมือทำอย่างจริงจังตั้งแต่วันนี้ และวันต่อๆ ไป เพื่อประเทศไทยของเราทุกคน
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
กระดาษแต่ละแผ่นย่อมหมายถึงต้นไม้ หนึ่งต้นที่ต้องเสียไป
2. ในสำนักงานให้ใช้การส่งเอกสารต่อๆ กัน แทนการสำเนาเอกสารหลายๆ ชุด เพื่อ
ประหยัดกระดาษ ประหยัดพลังงาน
3. ลดการสูญเสียกระดาษเพิ่มมากขึ้น ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้กระดาษปะหน้าโทรสาร
ชนิดเต็มแผ่น และหันมาใช้กระดาษขนาดเล็ก ที่สามารถตัดพับบนโทรสารได้ง่าย
4. ใช้การส่งผ่านข้อมูลข่าวสารต่างๆ ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยโมเด็มหรือแผ่นดิสก์
แทนการส่งข่าวสารข้อมูลโดยเอกสาร ช่วยลดขั้นตอนการทำงานลดการใช้พลังงานได้มาก
5. หลีกเลี่ยงการใช้จานกระดาษ แก้วน้ำกระดาษ เวลาจัดงานสังสรรค์ต่างๆ เพราะ
สิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต
6. รู้จักแยกแยะประเภทขยะ เพื่อช่วยลดขั้นตอน และลดพลังงานในการทำลายขยะและ
ทำให้ขยะทั้งหลายง่ายต่อการกำจัด
7. หนังสือพิมพ์อ่านเสร็จแล้วอย่าทิ้ง ให้เก็บไว้ขาย หรือพับถุง เก็บไว้ทำอะไรอย่าง อื่น
ใช้ซ้ำทุกครั้งถ้าทำได้ ช่วยลดการใช้พลังงานในการผลิต
8. ขึ้นลงชั้นเดียวหรือสองชั้น ไม่จำเป็นต้องใช้ลิฟท์ จำไว้เสมอว่าการกดลิฟท์แต่ละครั้ง
สูญเสียพลังงานถึง 7 บาท
9. งด เลิก บริโภคผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้งเลย เพราะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ้นเปลือง เพิ่มปริมาณขยะ เปลืองพลังงานในการกำจัดชยะ
10. ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีบรรจุภัณฑ์ที่ยากต่อการทำลาย เช่น โฟม หรือพลาสติก ควรเลือก
ใช้บรรจุภัณฑ์ที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) หรือนำไปผ่านกระบวนการผลิตมาใช้ใหม่ได้
(Recycle)
11. สนับสนุนสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ เป็นวัสดุที่สามารถนำมาผ่านกระบวนการนำมาใช้ใหม่
(Recycle) เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติกบางประเภท โดยจัดให้มีการแยกขยะใน
ครัวเรือนและในสำนักงาน
12. ให้ความร่วมมือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน
ที่รณรงค์ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์พลังงาน
13. กระตุ้นเตือนให้ผู้อื่นช่วยกันประหยัดพลังงาน โดยการติดสัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย
ให้ช่วยประหยัดไฟ ตรงบริเวณใกล้สวิทช์ไฟ เพื่อเตือนให้ปิดเมื่อเลิกใช้แล้ว
คนไทยสามารถกอบกู้เศรษฐกิจ ของชาติได้ด้วยการสร้างพฤติกรรม ประหยัดพลังงานอย่าง
มีประสิทธิภาพ ไม่ใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย เกินความจำเป็นอีกต่อไป มาร่วมมือกัน ช่วยกันทั้ง
ประเทศ ลงมือทำอย่างจริงจังตั้งแต่วันนี้ และวันต่อๆ ไป เพื่อประเทศไทยของเราทุกคน
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
วิธีประหยัดน้ำ
1. ใช้น้ำอย่างประหยัด หมั่นตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำ เพื่อลดการสูญเสียน้ำอย่างเปล่า
ประโยชน์
2. ไม่ควรปล่อยให้น้ำไหลตลอดเวลาตอนล้างหน้า แปรงฟัน โกนหนวดและถูสบู่ตอนอาบน้ำ
เพราะจะสูญน้ำไปโดยเปล่า ประโยชน์ นาทีละหลายๆ ลิตร
3. ใช้สบู่เหลวแทนสบู่ก้อนเวลาล้างมือ เพราะการใช้สบู่ก้อน ล้างมือจะใช้เวลามากกว่าการ
ใช้สบู่เหลวและการใช้สบู่เหลว ที่ไม่เข้มข้น จะใช้น้ำน้อยกว่าการล้างมือด้วยสบู่เหลวเข้มข้น
4. ซักผ้าด้วยมือ ควรรองน้ำใส่กาละมังแค่พอใช้ อย่าเปิดน้ำไหลทิ้งไว้ตลอดเวลาซัก เพราะ
สิ้นเปลืองกว่าการซักโดยวิธีการขังน้ำไว้ในกาละมัง
5. ใช้ Sprinkler หรือฝักบัวรดน้ำต้นไม้แทนการฉีดน้ำด้วย สายยางจะประหยัดน้ำได้มากกว่า
6. ไม่ควรใช้สายยางและเปิดน้ำไหลตลอดเวลาในขณะที่ล้างรถ เพราะจะใช้น้ำมากถึง 400 ลิตร
แต่ถ้าล้างด้วยน้ำและฟองน้ำใน กระป๋องหรือภาชนะบรรจุน้ำ จะลดการใช้น้ำได้มากถึง 300 ลิตร
ต่อการล้างหนึ่งครั้ง
7. ไม่ควรล้างรถบ่อยครั้งจนเกินไป เพราะนอกจากจะมีความ สิ้นเปลืองน้ำแล้ว ยังทำให้เกิดสนิม
ที่ตัวถังได้ด้วย
8. ตรวจสอบท่อน้ำรั่วภายในบ้าน ด้วยการปิดก๊อกน้ำทุกตัว ภายในบ้าน หลังจากทีทุกคนเข้านอน
(หรือเวลาที่แน่ใจว่า ไม่มี ใครใช้น้ำระยะหนึ่ง จดหมายเลขวัดน้ำไว้ ถ้าตอนเช้ามาตรเคลื่อนที่
โดยที่ยังไม่มีใครเปิดน้ำใช้ ก็เรียกช่างมาตรวจซ่อมได้เลย)
9. ควรล้างพืชผักและผลไม้ในอ่างหรือภาชนะที่มีการกักเก็บน้ำ ไว้เพียงพอ เพราะการล้างด้วย
น้ำที่ไหลจากก๊อกน้ำโดยตรง จะใช้น้ำมากกว่า การล้างด้วยน้ำที่บรรจุไว้ในภาชนะถึงร้อยะ50
10. ตรวจสอบชักโครกว่ามีจุดรั่วซึมหรือไม่ ให้ลองหยดสีผสมอาหาร ลงในถังพักน้ำ แล้วสังเกต
ดูที่คอห่าน หากมีน้ำสีลงมาโดยที่ไม่ได้กด ชักโครก ให้รีบจัดการซ่อมได้เลย
11. ไม่ใช้ชักโครกเป็นที่ทิ้งเศษอาหาร กระดาษ สารเคมีทุกชนิด เพราะจะทำให้สูญเสียน้ำจากการ
ชักโครก เพื่อไล่สิ่งของลงท่อ
12. ใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำ เช่น ชักโครกประหยัดน้ำ ฝักบัว ประหยัดน้ำ ก๊อกประหยัดน้ำ หัวฉีด
ประหยัดน้ำ เป็นต้น
13. ติด Areator หรือ อุปกรณ์เติมอากาศที่หัวก๊อก เพื่อช่วย เพิ่มอากาศให้แก่น้ำที่ไหลออกจาก
หัวก๊อก ลดปริมาณการไหลของ น้ำ ช่วยประหยัดน้ำ
14. ไม่ควรรดน้ำต้นไม้ตอนแดดจัด เพราะน้ำจะระเหยหมดไป เปล่าๆ ให้รดตอนเช้าที่อากาศยัง
เย็นอยู่การระเหยจะต่ำกว่า ช่วยให้ประหยัดน้ำ
15. อย่าทิ้งน้ำดื่มที่เหลือในแก้วโดยไม่เกิดประโยชน์อันใด ใช้รดน้ำ ต้นไม้ ใช้ชำระพื้นผิว
ใช้ชำระความสะอาดสิ่งต่างๆ ได้อีกมาก
16. ควรใช้เหยือกน้ำกับแก้วเปล่าในการบริการน้ำดื่ม และให้ ผู้ที่ต้องการดื่มรินน้ำดื่มเอง
และควรดื่มให้หมดทุกครั้ง
17. ล้างจานในภาชนะที่ขังน้ำไว้ จะประหยัดน้ำได้มากกว่าการ ล้างจานด้วยวิธีที่ปล่อยให้
น้ำไหลจากก๊อกน้ำตลอดเวลา
18. ติดตั้งระบบน้ำให้สามารถใช้ประโยชน์จากการเก็บและจ่ายน้ำ ตามแรงโน้มถ่วงของโลก
เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้พลังงานไปสูบและจ่ายน้ำภายในอาคาร
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
ประโยชน์
2. ไม่ควรปล่อยให้น้ำไหลตลอดเวลาตอนล้างหน้า แปรงฟัน โกนหนวดและถูสบู่ตอนอาบน้ำ
เพราะจะสูญน้ำไปโดยเปล่า ประโยชน์ นาทีละหลายๆ ลิตร
3. ใช้สบู่เหลวแทนสบู่ก้อนเวลาล้างมือ เพราะการใช้สบู่ก้อน ล้างมือจะใช้เวลามากกว่าการ
ใช้สบู่เหลวและการใช้สบู่เหลว ที่ไม่เข้มข้น จะใช้น้ำน้อยกว่าการล้างมือด้วยสบู่เหลวเข้มข้น
4. ซักผ้าด้วยมือ ควรรองน้ำใส่กาละมังแค่พอใช้ อย่าเปิดน้ำไหลทิ้งไว้ตลอดเวลาซัก เพราะ
สิ้นเปลืองกว่าการซักโดยวิธีการขังน้ำไว้ในกาละมัง
5. ใช้ Sprinkler หรือฝักบัวรดน้ำต้นไม้แทนการฉีดน้ำด้วย สายยางจะประหยัดน้ำได้มากกว่า
6. ไม่ควรใช้สายยางและเปิดน้ำไหลตลอดเวลาในขณะที่ล้างรถ เพราะจะใช้น้ำมากถึง 400 ลิตร
แต่ถ้าล้างด้วยน้ำและฟองน้ำใน กระป๋องหรือภาชนะบรรจุน้ำ จะลดการใช้น้ำได้มากถึง 300 ลิตร
ต่อการล้างหนึ่งครั้ง
7. ไม่ควรล้างรถบ่อยครั้งจนเกินไป เพราะนอกจากจะมีความ สิ้นเปลืองน้ำแล้ว ยังทำให้เกิดสนิม
ที่ตัวถังได้ด้วย
8. ตรวจสอบท่อน้ำรั่วภายในบ้าน ด้วยการปิดก๊อกน้ำทุกตัว ภายในบ้าน หลังจากทีทุกคนเข้านอน
(หรือเวลาที่แน่ใจว่า ไม่มี ใครใช้น้ำระยะหนึ่ง จดหมายเลขวัดน้ำไว้ ถ้าตอนเช้ามาตรเคลื่อนที่
โดยที่ยังไม่มีใครเปิดน้ำใช้ ก็เรียกช่างมาตรวจซ่อมได้เลย)
9. ควรล้างพืชผักและผลไม้ในอ่างหรือภาชนะที่มีการกักเก็บน้ำ ไว้เพียงพอ เพราะการล้างด้วย
น้ำที่ไหลจากก๊อกน้ำโดยตรง จะใช้น้ำมากกว่า การล้างด้วยน้ำที่บรรจุไว้ในภาชนะถึงร้อยะ50
10. ตรวจสอบชักโครกว่ามีจุดรั่วซึมหรือไม่ ให้ลองหยดสีผสมอาหาร ลงในถังพักน้ำ แล้วสังเกต
ดูที่คอห่าน หากมีน้ำสีลงมาโดยที่ไม่ได้กด ชักโครก ให้รีบจัดการซ่อมได้เลย
11. ไม่ใช้ชักโครกเป็นที่ทิ้งเศษอาหาร กระดาษ สารเคมีทุกชนิด เพราะจะทำให้สูญเสียน้ำจากการ
ชักโครก เพื่อไล่สิ่งของลงท่อ
12. ใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำ เช่น ชักโครกประหยัดน้ำ ฝักบัว ประหยัดน้ำ ก๊อกประหยัดน้ำ หัวฉีด
ประหยัดน้ำ เป็นต้น
13. ติด Areator หรือ อุปกรณ์เติมอากาศที่หัวก๊อก เพื่อช่วย เพิ่มอากาศให้แก่น้ำที่ไหลออกจาก
หัวก๊อก ลดปริมาณการไหลของ น้ำ ช่วยประหยัดน้ำ
14. ไม่ควรรดน้ำต้นไม้ตอนแดดจัด เพราะน้ำจะระเหยหมดไป เปล่าๆ ให้รดตอนเช้าที่อากาศยัง
เย็นอยู่การระเหยจะต่ำกว่า ช่วยให้ประหยัดน้ำ
15. อย่าทิ้งน้ำดื่มที่เหลือในแก้วโดยไม่เกิดประโยชน์อันใด ใช้รดน้ำ ต้นไม้ ใช้ชำระพื้นผิว
ใช้ชำระความสะอาดสิ่งต่างๆ ได้อีกมาก
16. ควรใช้เหยือกน้ำกับแก้วเปล่าในการบริการน้ำดื่ม และให้ ผู้ที่ต้องการดื่มรินน้ำดื่มเอง
และควรดื่มให้หมดทุกครั้ง
17. ล้างจานในภาชนะที่ขังน้ำไว้ จะประหยัดน้ำได้มากกว่าการ ล้างจานด้วยวิธีที่ปล่อยให้
น้ำไหลจากก๊อกน้ำตลอดเวลา
18. ติดตั้งระบบน้ำให้สามารถใช้ประโยชน์จากการเก็บและจ่ายน้ำ ตามแรงโน้มถ่วงของโลก
เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้พลังงานไปสูบและจ่ายน้ำภายในอาคาร
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
วิธีประหยัดไฟฟ้า
1. ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน สร้างให้เป็นนิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง
2. เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ
หากมีอุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5
3. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมง สำหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที สำหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5
4. หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศ บ่อยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทำงานของเครื่องปรับอากาศ
5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่กำลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ต้องใช้พลังงาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10
6. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับ อากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง ฝ้าเพดาน ประตู ช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
7. ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้งานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
เพื่อลดการสูญเสีย และใช้พลังงานในการปรับอากาศภายในอาคาร
8. ติดตั้งฉนวนกันความร้อนโดยรอบห้องที่มีการปรับอากาศ เพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเท
ความร้อนเข้าภายในอาคาร
9. ใช้มูลี่กันสาดป้องกันแสงแดดส่องกระทบตัวอาคาร และ บุฉนวนกันความร้อนตามหลังคาและ
ฝาผนังเพื่อไม่ให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักเกินไป
10. หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ ห้องปรับอากาศติดตั้งและใช้อุปกรณ์
ควบคุมการเปิด-ปิดประตูในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
11. ควรปลูกต้นไม้รอบๆ อาคาร เพราะต้นไม้ขนาดใหญ่ 1 ต้น ให้ความเย็นเท่ากับเครื่องปรับอากาศ
1 ตัน หรือให้ความเย็น ประมาณ 12,000 บีทียู
37. ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบังแดดข้างบ้านหรือเหนือหลังคา เพื่อเครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องทำงานหนักเกินไป
12. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อช่วยลดความร้อนและเพิ่มความชื้นให้กับดิน จะทำให้บ้านเย็น ไม่จำเป็นต้อง
เปิดเครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป
13. ในสำนักงาน ให้ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ไม่จำเป็น ในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. จะสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้
14. ไม่จำเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเริ่มงาน และควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเลิก
ใช้งานเล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ
15. เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลม ที่ไม่ได้คุณภาพมักเสียง่าย
ทำให้สิ้นเปลือง
16. หากอากาศไม่ร้อนเกินไป ควรเปิดพัดลมแทนเครื่องปรับ อากาศ จะช่วยประหยัดไฟประหยัด
เงินได้มากทีเดียว
17. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอมประหยัด แทนหลอดอ้วนใช้หลอดตะเกียบ
แทนหลอดไส้ หรือใช้หลอดคอมแพคท์ฟลูออเรสเซนต์
18. ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กโทรนิกคู่กับ หลอดผอมจอมประหยัด จะช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด ไฟได้อีกมาก
19. ควรใช้โคมไฟแบบมีแผ่นสะท้อนแสงในห้องต่างๆ เพื่อช่วยให้ แสงสว่างจากหลอดไฟ
กระจายได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้ ไม่จำเป็นต้องใช้หลอดไฟฟ้าวัตต์สูง ช่วยประหยัดพลังงาน
20. หมั่นทำความสะอาดหลอดไฟที่บ้าน เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสว่าง โดยไม่ต้องใช้พลังงาน
มากขึ้น ควรทำอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี
21. ใช้หลอดไฟที่มีวัตต์ต่ำ สำหรับบริเวณที่จำเป็นต้องเปิดทิ้งไว้ทั้งคืน ไม่ว่าจะเป็นในบ้าน
หรือข้างนอก เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้า
22. ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะทำงาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด แทนการ เปิดไฟทั้งห้องเพื่อทำงาน
จะประหยัดไฟลงไปได้มาก
23. ควรใช้สีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะท้อน แสงที่ดีและทาภายในอาคาร
เพื่อทำให้ห้องสว่างได้มากกว่า
24. ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติให้มากที่สุด เช่น ติดตั้งกระจก หรือติดฟิล์มที่มีคุณสมบัติป้องกัน
ความร้อน แต่ยอมให้แสงผ่าน เข้าได้เพื่อลดการใช้พลังงานเพื่อแสงสว่างภายในอาคาร
25. ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งในบริเวณที่มีความต้องการใช้ แสงสว่างน้อยหรือบริเวณที่มีแสง
สว่างพอเพียงแล้ว
26. ปิดตู้เย็นให้สนิท ทำความสะอาดภายในตู้เย็น และแผ่นระบาย ความร้อนหลังตู้เย็นสม่ำเสมอ
เพื่อให้ตู้เย็นไม่ต้องทำงานหนักและ เปลืองไฟ
27. อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย อย่านำของร้อนเข้าแช่ในตู้เย็น เพราะจะทำให้ตู้เย็นทำงานเพิ่มขึ้น กินไฟมากขึ้น
28. ตรวจสอบขอบยางประตูของตู้เย็นไม่ให้เสื่อมสภาพ เพราะจะ ทำให้ความเย็นรั่วออกมาได้
ทำให้สิ้นเปลืองไฟมากกว่าที่จำเป็น
29. เลือกขนาดตู้เย็นให้เหมาะสมกับขนาดครอบครัว อย่าใช้ตู้เย็นใหญ่เกินความจำเป็นเพราะกิน
ไฟมากเกินไป และควรตั้งตู้เย็นไว้ ห่างจากผนังบ้าน 15 ซม.
30. ควรละลายน้ำแข็งในตู้เย็นสม่ำเสมอ การปล่อยให้น้ำแข็งจับ หนาเกินไป จะทำให้เครื่องต้อง
ทำงานหนัก ทำให้กินไฟมาก
31. เลือกซื้อตู้เย็นประตูเดียว เนื่องจากตู้เย็น 2 ประตู จะกินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาด
เท่ากัน เพราะต้องใช้ท่อน้ำยา ทำความเย็นที่ยาวกว่าและใช้คอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่กว่า
32. ควรตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิของตู้เย็นให้เพมาะสม การตั้งที่ตัวเลขต่ำเกินไป อุณหภูมิจะ
เย็นน้อย ถ้าตั้งที่ตัวเลขสูงเกินไปจะเย็นมาก เพื่อให้ประหยัดพลังงานควรตั้งที่เลขต่ำที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ
33. ไม่ควรพรมน้ำจนแฉะเวลารีดผ้า เพราะต้องใช้ความร้อนใน การรีดมากขึ้น เสียพลังงาน
มากขึ้น เสียค่าไฟเพิ่มชึ้น
34. ดึงปลั๊กออกก่อนการรีดเสื้อผ้าเสร็จ เพราะความร้อนที่เหลือในเตารีด ยังสามารถรีดต่อได้จน
กระทั่งเสร็จ ช่วยประหยัดไฟฟ้า
35. เสียบปลั๊กครั้งเดียว ต้องรีดเสื้อให้เสร็จ ไม่ควรเสียบและถอดปลั๊กเตารีดบ่อยๆ เพราะการ
ทำให้เตารีดร้อนแต่ละครั้ง กินไฟมาก
36. ลด ละ เลี่ยง การใส่เสื้อสูท เพราะไม่เหมาะสมกับสภาพอากาศเมืองร้อน สิ้นเปลืองการตัด
ซัก รีด และความจำเป็นในการเปิดเครื่งปรับอากาศ
37. ซักผ้าด้วยเครื่อง ควรใส่ผ้าให้เต็มกำลังของเครื่อง เพราะซัก1 ตัวกับซัก 20 ตัว ก็ต้อง
ใช้น้ำในปริมาณเท่าๆ กัน
38. ไม่ควรอบผ้าด้วยเครื่อง เมื่อใช้เครื่องซักผ้า เพราะเปลืองไฟมาก ควรตากเสื้อผ้ากับแสง
แดดหรือแสงธรรมชาติจะดีกว่าทั้งยัง ช่วยประหยัดไฟได้มากกว่า
39. ปิดโทรทัศน์ทันทีเมื่อไม่มีคนดู เพราะการเปิดทิ้งไว้โดยไม่มีคนดู เป็นการสิ้นเปลืองไฟฟ้า
โดยใช่เหตุ แถมยังต้องซ่อมเร็วอีกด้วย
40. ไม่ควรปรับจอโทรทัศน์ให้สว่างเกินไป และอย่าเปิดโทรทัศน์ให้เสียงดังเกินความจำเป็น
เพราะเปลืองไฟ ทำให้อายุเครื่องสั้นลงด้วย
41. อยู่บ้านเดียวกัน ดูโทรทัศน์รายการเดียวกัน ก็ควรจะดู เครื่องเดียวกันไม่ใช่ดูคนละเครื่อง
คนละห้อง เพราะจะทำให้ สิ้นเปลืองพลังงาน
42. เช็ดผมให้แห้งก่อนเป่าผมทุกครั้ง ใช้เครื่องเป่าผมสำหรับ แต่งทรงผมไม่ควรใช้ทำให้ผมแห้ง
เพราะต้องเป่านาน เปลืองไฟฟ้า
43. ใช้เตาแก๊สหุงต้มอาหาร ประหยัดกว่าใช้เตาไฟฟ้า เตาอบไฟฟ้าและควรติดตั้งวาล์วนีรภัย
(Safety Value) เพื่อความปลอดภัยด้วย
44. เวลาหุงต้มอาหารด้วยเตาไฟฟ้า ควรจะปิดเตาก่อนอาหารสุก 5 นาทีเพราะความร้อนที่เตา
จะร้อนต่ออีกอย่างน้อย 5 นาที เพียงพอที่จะทำให้อาหารสุกได้
45. อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าวไว้ เพราะระบบอุ่นจะทำงาน ตลอดเวลาทำให้สิ้นเปลืองไฟเกิน
ความจำเป็น
46. กาต้มน้ำไฟฟ้า ต้องดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อน้ำเดือด อย่าเสียบไฟไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอก
จากจะไม่ประหยัดพลังงานแล้ว ยังอาจทำให้เกิดไฟไหม้ได้
47. แยกสวิตช์ไฟออกจากกัน ให้สามารถเปิดปิดได้เฉพาะจุด ไม่ ใช้ปุ่มเดียวเปิดปิดทั้งชั้นทำ
ให้เกิดการสิ้นเปลืองและสูญเปล่า
48. หลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ต้องมีการปล่อยความร้อน เช่น กาต้มน้ำ หม้อหุงต้ม
ไว้ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
49. ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ และหมั่นทำความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้า
อยู่เสมอ จะทำให้ลดการสิ้นเปลืองไฟได้
50. อย่าเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้ถ้าไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบลดกระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องเมื่อพักการ
ทำงาน จะประหยัดไฟได้ร้อยละ 35-40 และถ้าหากปิดหน้าจอทันทีเมื่อไม่ใช้งาน จะประหยัด
ไฟได้ร้อยละ 60
51. ดูสัญญลักษณ์ Energy Star ก่อนเลือกซื้ออุปกรณ์สำนักงาน (เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องโทรสาร เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ) ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงาน ลด
การใช้ กำลังไฟฟ้า เพราะจะมีระบบประหยัดไฟฟ้าอัตโนมัติ
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
2. เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ
หากมีอุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5
3. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมง สำหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที สำหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5
4. หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศ บ่อยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทำงานของเครื่องปรับอากาศ
5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่กำลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ต้องใช้พลังงาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10
6. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับ อากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง ฝ้าเพดาน ประตู ช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
7. ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้งานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
เพื่อลดการสูญเสีย และใช้พลังงานในการปรับอากาศภายในอาคาร
8. ติดตั้งฉนวนกันความร้อนโดยรอบห้องที่มีการปรับอากาศ เพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเท
ความร้อนเข้าภายในอาคาร
9. ใช้มูลี่กันสาดป้องกันแสงแดดส่องกระทบตัวอาคาร และ บุฉนวนกันความร้อนตามหลังคาและ
ฝาผนังเพื่อไม่ให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักเกินไป
10. หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ ห้องปรับอากาศติดตั้งและใช้อุปกรณ์
ควบคุมการเปิด-ปิดประตูในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
11. ควรปลูกต้นไม้รอบๆ อาคาร เพราะต้นไม้ขนาดใหญ่ 1 ต้น ให้ความเย็นเท่ากับเครื่องปรับอากาศ
1 ตัน หรือให้ความเย็น ประมาณ 12,000 บีทียู
37. ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบังแดดข้างบ้านหรือเหนือหลังคา เพื่อเครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องทำงานหนักเกินไป
12. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อช่วยลดความร้อนและเพิ่มความชื้นให้กับดิน จะทำให้บ้านเย็น ไม่จำเป็นต้อง
เปิดเครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป
13. ในสำนักงาน ให้ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ไม่จำเป็น ในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. จะสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้
14. ไม่จำเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเริ่มงาน และควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเลิก
ใช้งานเล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ
15. เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลม ที่ไม่ได้คุณภาพมักเสียง่าย
ทำให้สิ้นเปลือง
16. หากอากาศไม่ร้อนเกินไป ควรเปิดพัดลมแทนเครื่องปรับ อากาศ จะช่วยประหยัดไฟประหยัด
เงินได้มากทีเดียว
17. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอมประหยัด แทนหลอดอ้วนใช้หลอดตะเกียบ
แทนหลอดไส้ หรือใช้หลอดคอมแพคท์ฟลูออเรสเซนต์
18. ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กโทรนิกคู่กับ หลอดผอมจอมประหยัด จะช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด ไฟได้อีกมาก
19. ควรใช้โคมไฟแบบมีแผ่นสะท้อนแสงในห้องต่างๆ เพื่อช่วยให้ แสงสว่างจากหลอดไฟ
กระจายได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้ ไม่จำเป็นต้องใช้หลอดไฟฟ้าวัตต์สูง ช่วยประหยัดพลังงาน
20. หมั่นทำความสะอาดหลอดไฟที่บ้าน เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสว่าง โดยไม่ต้องใช้พลังงาน
มากขึ้น ควรทำอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี
21. ใช้หลอดไฟที่มีวัตต์ต่ำ สำหรับบริเวณที่จำเป็นต้องเปิดทิ้งไว้ทั้งคืน ไม่ว่าจะเป็นในบ้าน
หรือข้างนอก เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้า
22. ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะทำงาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด แทนการ เปิดไฟทั้งห้องเพื่อทำงาน
จะประหยัดไฟลงไปได้มาก
23. ควรใช้สีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะท้อน แสงที่ดีและทาภายในอาคาร
เพื่อทำให้ห้องสว่างได้มากกว่า
24. ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติให้มากที่สุด เช่น ติดตั้งกระจก หรือติดฟิล์มที่มีคุณสมบัติป้องกัน
ความร้อน แต่ยอมให้แสงผ่าน เข้าได้เพื่อลดการใช้พลังงานเพื่อแสงสว่างภายในอาคาร
25. ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งในบริเวณที่มีความต้องการใช้ แสงสว่างน้อยหรือบริเวณที่มีแสง
สว่างพอเพียงแล้ว
26. ปิดตู้เย็นให้สนิท ทำความสะอาดภายในตู้เย็น และแผ่นระบาย ความร้อนหลังตู้เย็นสม่ำเสมอ
เพื่อให้ตู้เย็นไม่ต้องทำงานหนักและ เปลืองไฟ
27. อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย อย่านำของร้อนเข้าแช่ในตู้เย็น เพราะจะทำให้ตู้เย็นทำงานเพิ่มขึ้น กินไฟมากขึ้น
28. ตรวจสอบขอบยางประตูของตู้เย็นไม่ให้เสื่อมสภาพ เพราะจะ ทำให้ความเย็นรั่วออกมาได้
ทำให้สิ้นเปลืองไฟมากกว่าที่จำเป็น
29. เลือกขนาดตู้เย็นให้เหมาะสมกับขนาดครอบครัว อย่าใช้ตู้เย็นใหญ่เกินความจำเป็นเพราะกิน
ไฟมากเกินไป และควรตั้งตู้เย็นไว้ ห่างจากผนังบ้าน 15 ซม.
30. ควรละลายน้ำแข็งในตู้เย็นสม่ำเสมอ การปล่อยให้น้ำแข็งจับ หนาเกินไป จะทำให้เครื่องต้อง
ทำงานหนัก ทำให้กินไฟมาก
31. เลือกซื้อตู้เย็นประตูเดียว เนื่องจากตู้เย็น 2 ประตู จะกินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาด
เท่ากัน เพราะต้องใช้ท่อน้ำยา ทำความเย็นที่ยาวกว่าและใช้คอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่กว่า
32. ควรตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิของตู้เย็นให้เพมาะสม การตั้งที่ตัวเลขต่ำเกินไป อุณหภูมิจะ
เย็นน้อย ถ้าตั้งที่ตัวเลขสูงเกินไปจะเย็นมาก เพื่อให้ประหยัดพลังงานควรตั้งที่เลขต่ำที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ
33. ไม่ควรพรมน้ำจนแฉะเวลารีดผ้า เพราะต้องใช้ความร้อนใน การรีดมากขึ้น เสียพลังงาน
มากขึ้น เสียค่าไฟเพิ่มชึ้น
34. ดึงปลั๊กออกก่อนการรีดเสื้อผ้าเสร็จ เพราะความร้อนที่เหลือในเตารีด ยังสามารถรีดต่อได้จน
กระทั่งเสร็จ ช่วยประหยัดไฟฟ้า
35. เสียบปลั๊กครั้งเดียว ต้องรีดเสื้อให้เสร็จ ไม่ควรเสียบและถอดปลั๊กเตารีดบ่อยๆ เพราะการ
ทำให้เตารีดร้อนแต่ละครั้ง กินไฟมาก
36. ลด ละ เลี่ยง การใส่เสื้อสูท เพราะไม่เหมาะสมกับสภาพอากาศเมืองร้อน สิ้นเปลืองการตัด
ซัก รีด และความจำเป็นในการเปิดเครื่งปรับอากาศ
37. ซักผ้าด้วยเครื่อง ควรใส่ผ้าให้เต็มกำลังของเครื่อง เพราะซัก1 ตัวกับซัก 20 ตัว ก็ต้อง
ใช้น้ำในปริมาณเท่าๆ กัน
38. ไม่ควรอบผ้าด้วยเครื่อง เมื่อใช้เครื่องซักผ้า เพราะเปลืองไฟมาก ควรตากเสื้อผ้ากับแสง
แดดหรือแสงธรรมชาติจะดีกว่าทั้งยัง ช่วยประหยัดไฟได้มากกว่า
39. ปิดโทรทัศน์ทันทีเมื่อไม่มีคนดู เพราะการเปิดทิ้งไว้โดยไม่มีคนดู เป็นการสิ้นเปลืองไฟฟ้า
โดยใช่เหตุ แถมยังต้องซ่อมเร็วอีกด้วย
40. ไม่ควรปรับจอโทรทัศน์ให้สว่างเกินไป และอย่าเปิดโทรทัศน์ให้เสียงดังเกินความจำเป็น
เพราะเปลืองไฟ ทำให้อายุเครื่องสั้นลงด้วย
41. อยู่บ้านเดียวกัน ดูโทรทัศน์รายการเดียวกัน ก็ควรจะดู เครื่องเดียวกันไม่ใช่ดูคนละเครื่อง
คนละห้อง เพราะจะทำให้ สิ้นเปลืองพลังงาน
42. เช็ดผมให้แห้งก่อนเป่าผมทุกครั้ง ใช้เครื่องเป่าผมสำหรับ แต่งทรงผมไม่ควรใช้ทำให้ผมแห้ง
เพราะต้องเป่านาน เปลืองไฟฟ้า
43. ใช้เตาแก๊สหุงต้มอาหาร ประหยัดกว่าใช้เตาไฟฟ้า เตาอบไฟฟ้าและควรติดตั้งวาล์วนีรภัย
(Safety Value) เพื่อความปลอดภัยด้วย
44. เวลาหุงต้มอาหารด้วยเตาไฟฟ้า ควรจะปิดเตาก่อนอาหารสุก 5 นาทีเพราะความร้อนที่เตา
จะร้อนต่ออีกอย่างน้อย 5 นาที เพียงพอที่จะทำให้อาหารสุกได้
45. อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าวไว้ เพราะระบบอุ่นจะทำงาน ตลอดเวลาทำให้สิ้นเปลืองไฟเกิน
ความจำเป็น
46. กาต้มน้ำไฟฟ้า ต้องดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อน้ำเดือด อย่าเสียบไฟไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอก
จากจะไม่ประหยัดพลังงานแล้ว ยังอาจทำให้เกิดไฟไหม้ได้
47. แยกสวิตช์ไฟออกจากกัน ให้สามารถเปิดปิดได้เฉพาะจุด ไม่ ใช้ปุ่มเดียวเปิดปิดทั้งชั้นทำ
ให้เกิดการสิ้นเปลืองและสูญเปล่า
48. หลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ต้องมีการปล่อยความร้อน เช่น กาต้มน้ำ หม้อหุงต้ม
ไว้ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
49. ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ และหมั่นทำความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้า
อยู่เสมอ จะทำให้ลดการสิ้นเปลืองไฟได้
50. อย่าเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้ถ้าไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบลดกระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องเมื่อพักการ
ทำงาน จะประหยัดไฟได้ร้อยละ 35-40 และถ้าหากปิดหน้าจอทันทีเมื่อไม่ใช้งาน จะประหยัด
ไฟได้ร้อยละ 60
51. ดูสัญญลักษณ์ Energy Star ก่อนเลือกซื้ออุปกรณ์สำนักงาน (เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องโทรสาร เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ) ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงาน ลด
การใช้ กำลังไฟฟ้า เพราะจะมีระบบประหยัดไฟฟ้าอัตโนมัติ
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
วิธีประหยัดน้ำมัน
1. ตรวจตราลมยางเป็นประจำ เพราะยางที่อ่อนเกินไปนั้น ทำให้ สิ้นเปลืองน้ำมันมากกว่ายางที่มีปริมาณลมยางตามที่มาตรฐานกำหนด
2. สับเปลี่ยนยาง ตรวจตั้งศูนย์ล้อตามกำหนด จะช่วยประหยัด น้ำมันเพิ่มขึ้นอีกมาก
3. ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนานๆ แค่จอดรถติดเครื่องทิ้งไว้ 10 นาที ก็เสียน้ำมันฟรีๆ 200 ซีซี
4. ไม่ควรติดเครื่องทิ้งไว้เมื่อจอดรถ ให้ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งที่ขึ้นของ ลงของ หรือคอยคน เพราะการติด
เครื่องทิ้งไว้ เปลืองน้ำมัน และสร้างมลพิษอีกด้วย
5. ไม่ออกรถกระชากดังเอี๊ยด การออกรถกระชาก 10 ครั้ง สูญเสีย น้ำมันไปเปล่าๆ ถึง 100 ซีซี น้ำมัน
จำนวนนี้รถสามารถวิ่งได้ไกล 700 เมตร
6. ไม่เร่งเครื่องยนต์ตอนเกียร์ว่างอย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า เบิ้ลเครื่องยนต์ การกระทำดังกล่าว 10 ครั้ง สูญเสียน้ำมันถึง 50 ซีซี ปริมาณน้ำมันขนาดนี้รถวิ่งไปได้ตั้ง 350 เมตร
7. ตรวจตั้งเครื่องยนต์ตามกำหนด ควรตรวจเช็คเครื่องยนต์ สม่ำเสมอเช่น ทำความสะอาดระบบไฟจุด
ระเบิด เปลี่ยนหัว คอนเดนเซอร์ ตั้งไฟแก่อ่อนให้พอดี จะช่วยประหยัดน้ำมันได้ถึง 10%
8. ไม่ต้องอุ่นเครื่อง หากออกรถและขับช้าๆ สัก 1-2 กม.แรก เครื่องยนต์จะอุ่นเอง ไม่ต้องเปลืองน้ำมันไป
กับการอุ่นเครื่อง
9. ไม่ควรบรรทุกน้ำหนักเกินพิกัด เพราะเครื่องยนต์จะทำงาน ตามน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น หากบรรทุกหนักมาก
จะทำให้เปลืองน้ำมัน และสึกหรอสูง
10. ใช้ระบบการใช้รถร่วมกัน หรือคาร์พูล (Car pool) ไปไหน มาไหนที่หมายเดียวกัน ทางผ่านหรือ
ใกล้เคียงกัน ควรใช้รถคัน เดียวกัน
11. เดินทางเท่าที่จำเป็นจริงๆ เพื่อประหยัดน้ำมัน บางครั้ง เรื่องบางเรื่องอาจจะติดต่อกันทางโทรศัพท์
ก็ได้ประหยัดน้ำมัน ประหยัดเวลา
12. ไปซื้อของหรือไปธุระใกล้บ้านหรือใกล้ๆ ที่ทำงาน อาจจะเดินหรือใช้จักรยานบ้าง ไม่จำเป็นต้อง
ใช้รถยนต์ทุกครั้ง เป็นการ ออกกำลังกายและประหยัดน้ำมันด้วย
13. ก่อนไปพบใคร ควรโทรศัพท์ไปถามก่อนว่าเขาอยู่หรือไม่ จะได้ไม่เสียเที่ยว ไม่เสียเวลา ไม่เสียน้ำมันไปโดยเปล่าประโยชน์
14. สอบถามเส้นทางที่จะไปให้แน่ชัด หรือศึกษาแผนที่ให้ดี จะได้ไม่หลงไม่เสียเวลา ไม่เปลืองน้ำมันใน
การวนหา
15. ควรใช้โทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณีย์ อินเตอร์เน็ท หรือใช้ บริการส่งเอกสารแทนการเดินทางด้วยตัวเอง เพื่อประหยัดน้ำมัน
16. ไม่ควรเดินทางโดยไม่ได้วางแผนการเดินทาง ควรกำหนด เส้นทางและช่วงเวลาการเดินทางที่เหมาะสมเพื่อประหยัดน้ำมัน
17. หมั่นศึกษาเส้นทางลัดเข้าไว้ ช่วยให้ไม่ต้องเดินทางยาวนานไม่ต้องเผชิญปัญหาจราจร ช่วยประหยัด
ทั้งเวลาและประหยัดน้ำมัน
18. ควรบับรถด้วยความเร็วคงที่ เลือกขับที่ความเร็ว 70-80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงที่ 2,000-2,500 รอบ
เครื่องยนต์ ความเร็วระดับนี้ ประหยัดน้ำมันได้มากกว่า
19. ไม่ควรขับรถลากเกียร์ เพราการลากเกียร์ต่ำนานๆ จะทำให้ เครื่องยนต์หมุนรอบสูงกินน้ำมันมากและ
เครื่องยนต์ร้อนจัด สึกหรอง่าย
20. ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งที่จะทำให้เครื่องยนต์ทำงานหนักขึ้น เช่น การทำให้เกิดการต้านลมขณะวิ่ง
หรือทำให้เครื่องยนต์ ไม่สามารถถ่ายเทความร้อนได้ดี
21. ไม่ควรใช้น้ำมันเบนซินที่ออกเทนสูงเกินความจำเป็นของ เครื่องยนต์ เพราะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานโดยเปล่าประโยชน์
22. หมั่นเปลี่ยนน้ำมันเครื่อง ไส้กรองน้ำมันเครื่อง ไส้กรองอากาศ ตามระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อประหยัดน้ำมัน
23. สำหรับเครื่องยนต์แบบเบนซิน ควรเลือกเติมน้ำมันเบนซิน ให้ถูกชนิดถูกประเภท โดยเลือกตามค่าออกเทนที่เหมาะสมกับ รถแต่ละยี่ห้อ (สังเกตจากฝาปิดถังน้ำมันด้านในหรือรับคู่มือที่ปั้ม น้ำมันใกล้บ้าน)
24. ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศตลอดเวลา ยามเช้าๆ เปิดกระจกรับความเย็นจากลมธรรมชาติบ้างก็สดชื่นดีประหยัดน้ำมันได้ด้วย
25. ไม่ควรเร่งเครื่องปรับอากาศในรถอย่างเต็มที่จนเกินความจำเป็น ไม่เปิดแอร์แรงๆ จนรู้สึกหนาวเกินไป เพราะสิ้นเปลืองพลังงาน
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
2. สับเปลี่ยนยาง ตรวจตั้งศูนย์ล้อตามกำหนด จะช่วยประหยัด น้ำมันเพิ่มขึ้นอีกมาก
3. ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนานๆ แค่จอดรถติดเครื่องทิ้งไว้ 10 นาที ก็เสียน้ำมันฟรีๆ 200 ซีซี
4. ไม่ควรติดเครื่องทิ้งไว้เมื่อจอดรถ ให้ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งที่ขึ้นของ ลงของ หรือคอยคน เพราะการติด
เครื่องทิ้งไว้ เปลืองน้ำมัน และสร้างมลพิษอีกด้วย
5. ไม่ออกรถกระชากดังเอี๊ยด การออกรถกระชาก 10 ครั้ง สูญเสีย น้ำมันไปเปล่าๆ ถึง 100 ซีซี น้ำมัน
จำนวนนี้รถสามารถวิ่งได้ไกล 700 เมตร
6. ไม่เร่งเครื่องยนต์ตอนเกียร์ว่างอย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า เบิ้ลเครื่องยนต์ การกระทำดังกล่าว 10 ครั้ง สูญเสียน้ำมันถึง 50 ซีซี ปริมาณน้ำมันขนาดนี้รถวิ่งไปได้ตั้ง 350 เมตร
7. ตรวจตั้งเครื่องยนต์ตามกำหนด ควรตรวจเช็คเครื่องยนต์ สม่ำเสมอเช่น ทำความสะอาดระบบไฟจุด
ระเบิด เปลี่ยนหัว คอนเดนเซอร์ ตั้งไฟแก่อ่อนให้พอดี จะช่วยประหยัดน้ำมันได้ถึง 10%
8. ไม่ต้องอุ่นเครื่อง หากออกรถและขับช้าๆ สัก 1-2 กม.แรก เครื่องยนต์จะอุ่นเอง ไม่ต้องเปลืองน้ำมันไป
กับการอุ่นเครื่อง
9. ไม่ควรบรรทุกน้ำหนักเกินพิกัด เพราะเครื่องยนต์จะทำงาน ตามน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น หากบรรทุกหนักมาก
จะทำให้เปลืองน้ำมัน และสึกหรอสูง
10. ใช้ระบบการใช้รถร่วมกัน หรือคาร์พูล (Car pool) ไปไหน มาไหนที่หมายเดียวกัน ทางผ่านหรือ
ใกล้เคียงกัน ควรใช้รถคัน เดียวกัน
11. เดินทางเท่าที่จำเป็นจริงๆ เพื่อประหยัดน้ำมัน บางครั้ง เรื่องบางเรื่องอาจจะติดต่อกันทางโทรศัพท์
ก็ได้ประหยัดน้ำมัน ประหยัดเวลา
12. ไปซื้อของหรือไปธุระใกล้บ้านหรือใกล้ๆ ที่ทำงาน อาจจะเดินหรือใช้จักรยานบ้าง ไม่จำเป็นต้อง
ใช้รถยนต์ทุกครั้ง เป็นการ ออกกำลังกายและประหยัดน้ำมันด้วย
13. ก่อนไปพบใคร ควรโทรศัพท์ไปถามก่อนว่าเขาอยู่หรือไม่ จะได้ไม่เสียเที่ยว ไม่เสียเวลา ไม่เสียน้ำมันไปโดยเปล่าประโยชน์
14. สอบถามเส้นทางที่จะไปให้แน่ชัด หรือศึกษาแผนที่ให้ดี จะได้ไม่หลงไม่เสียเวลา ไม่เปลืองน้ำมันใน
การวนหา
15. ควรใช้โทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณีย์ อินเตอร์เน็ท หรือใช้ บริการส่งเอกสารแทนการเดินทางด้วยตัวเอง เพื่อประหยัดน้ำมัน
16. ไม่ควรเดินทางโดยไม่ได้วางแผนการเดินทาง ควรกำหนด เส้นทางและช่วงเวลาการเดินทางที่เหมาะสมเพื่อประหยัดน้ำมัน
17. หมั่นศึกษาเส้นทางลัดเข้าไว้ ช่วยให้ไม่ต้องเดินทางยาวนานไม่ต้องเผชิญปัญหาจราจร ช่วยประหยัด
ทั้งเวลาและประหยัดน้ำมัน
18. ควรบับรถด้วยความเร็วคงที่ เลือกขับที่ความเร็ว 70-80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงที่ 2,000-2,500 รอบ
เครื่องยนต์ ความเร็วระดับนี้ ประหยัดน้ำมันได้มากกว่า
19. ไม่ควรขับรถลากเกียร์ เพราการลากเกียร์ต่ำนานๆ จะทำให้ เครื่องยนต์หมุนรอบสูงกินน้ำมันมากและ
เครื่องยนต์ร้อนจัด สึกหรอง่าย
20. ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งที่จะทำให้เครื่องยนต์ทำงานหนักขึ้น เช่น การทำให้เกิดการต้านลมขณะวิ่ง
หรือทำให้เครื่องยนต์ ไม่สามารถถ่ายเทความร้อนได้ดี
21. ไม่ควรใช้น้ำมันเบนซินที่ออกเทนสูงเกินความจำเป็นของ เครื่องยนต์ เพราะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานโดยเปล่าประโยชน์
22. หมั่นเปลี่ยนน้ำมันเครื่อง ไส้กรองน้ำมันเครื่อง ไส้กรองอากาศ ตามระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อประหยัดน้ำมัน
23. สำหรับเครื่องยนต์แบบเบนซิน ควรเลือกเติมน้ำมันเบนซิน ให้ถูกชนิดถูกประเภท โดยเลือกตามค่าออกเทนที่เหมาะสมกับ รถแต่ละยี่ห้อ (สังเกตจากฝาปิดถังน้ำมันด้านในหรือรับคู่มือที่ปั้ม น้ำมันใกล้บ้าน)
24. ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศตลอดเวลา ยามเช้าๆ เปิดกระจกรับความเย็นจากลมธรรมชาติบ้างก็สดชื่นดีประหยัดน้ำมันได้ด้วย
25. ไม่ควรเร่งเครื่องปรับอากาศในรถอย่างเต็มที่จนเกินความจำเป็น ไม่เปิดแอร์แรงๆ จนรู้สึกหนาวเกินไป เพราะสิ้นเปลืองพลังงาน
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
1 คัน 1 ดวง 1 แก้ว
1 คัน ปลายปี 2540 ประเทศไทย มีรถยนต์นั่งส่วนบุคคลอยู่ทั้งหมด 2.1 ล้านคัน รถยนต์แต่ละคัน
ใช้น้ำมันเฉลี่ยวันละ 100 บาท ถ้ารถทุกคันงด การใช้รถยนต์เหล่านี้สัปดาห์ละ 1 วัน จะสามารถประหยัด
ค่าน้ำมันได้ = 2.1 ล้านคัน x 100 บาท = 210 ล้านบาท/สัปดาห์ = ประหยัดเงิน 10,920 ล้านบาท/ปี
(210 ล้านบาท x 52 สัปดาห์)
1 ดวง ประเทศไทยมีครัวเรือนรวมประมาณ 12 ล้านครัวเรือน หากแต่ละครอบครัวช่วยกันปิดไฟ
1 ดวง (หลอดไส้ 60 วัตต์)เป็นเวลา 1 วัน เราจะประหยัดไฟได้ 4 ล้าน กิโลวัตต์-ชั่วโมง/วัน=(60 วัตต์ x
6 ชม* x 12 ล้านตรัวเรือน) ค่าผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า 1 หน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) คือ 2.2 บาท (รวมค่า
พลังงานที่ใช้ และการก่อสร้างโรงไฟฟ้า) การประหยัดไฟ 4 ล้านหน่วย/วัน จึงคิดเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 8.8 ล้าน
บาท/วัน หรือ 3,212 ล้านบาทต่อปี=(8.8 ล้านบาท x วัน) * ครอบครัวหนึ่งเปิดหลอดไส้ ประมาณ 6 ชั่วโมงต่อวัน
1 แก้ว การลดการใช้น้ำคนละ 1 แก้ว/วัน ประเทศไทยจะสามารถประหยัดน้ำได้ 30,000 ตัน/วัน =
(0.5 ลิตร x 60 ล้านคน) หรือเท่ากับน้ำ 11,000 ล้านลิตร/ปี เนื่องจากต้นทุนการผลิตน้ำประปาคือ 8.60*
บาท/ลูกบาศก์เมตร (หรือ 8.60 บาท/1,000 ลิตร) การลดการใช้น้ำ 1 แก้วทุกวัน จะประหยัดเงินได้ 94.6
ล้านบาท/ปี =(11 ล้านตัน x 8.6 บาท/หน่วย)
* ข้อมูลจาก กองเผยแพร่ การประปานครหลวง
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
ใช้น้ำมันเฉลี่ยวันละ 100 บาท ถ้ารถทุกคันงด การใช้รถยนต์เหล่านี้สัปดาห์ละ 1 วัน จะสามารถประหยัด
ค่าน้ำมันได้ = 2.1 ล้านคัน x 100 บาท = 210 ล้านบาท/สัปดาห์ = ประหยัดเงิน 10,920 ล้านบาท/ปี
(210 ล้านบาท x 52 สัปดาห์)
1 ดวง ประเทศไทยมีครัวเรือนรวมประมาณ 12 ล้านครัวเรือน หากแต่ละครอบครัวช่วยกันปิดไฟ
1 ดวง (หลอดไส้ 60 วัตต์)เป็นเวลา 1 วัน เราจะประหยัดไฟได้ 4 ล้าน กิโลวัตต์-ชั่วโมง/วัน=(60 วัตต์ x
6 ชม* x 12 ล้านตรัวเรือน) ค่าผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า 1 หน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) คือ 2.2 บาท (รวมค่า
พลังงานที่ใช้ และการก่อสร้างโรงไฟฟ้า) การประหยัดไฟ 4 ล้านหน่วย/วัน จึงคิดเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 8.8 ล้าน
บาท/วัน หรือ 3,212 ล้านบาทต่อปี=(8.8 ล้านบาท x วัน) * ครอบครัวหนึ่งเปิดหลอดไส้ ประมาณ 6 ชั่วโมงต่อวัน
1 แก้ว การลดการใช้น้ำคนละ 1 แก้ว/วัน ประเทศไทยจะสามารถประหยัดน้ำได้ 30,000 ตัน/วัน =
(0.5 ลิตร x 60 ล้านคน) หรือเท่ากับน้ำ 11,000 ล้านลิตร/ปี เนื่องจากต้นทุนการผลิตน้ำประปาคือ 8.60*
บาท/ลูกบาศก์เมตร (หรือ 8.60 บาท/1,000 ลิตร) การลดการใช้น้ำ 1 แก้วทุกวัน จะประหยัดเงินได้ 94.6
ล้านบาท/ปี =(11 ล้านตัน x 8.6 บาท/หน่วย)
* ข้อมูลจาก กองเผยแพร่ การประปานครหลวง
ที่มา http://www2.dede.go.th/bhrd/old/dataenergy/datadoc.html
ถังหมักก๊าซชีวภาพขนาดเล็กสำหรับครัวเรือน สถานประกอบการและชุมชน
ก๊าซชีวภาพ เป็นพลังงานหมุนเวียน ( Renewable Energy) ชนิดหนึ่งที่สามารถดำเนินการผลิตและใช้เป็นพลังงานทดแทนพลังงานจากฟอสซิล ( น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน) หรือจัดเป็นพลังงานทางเลือก (Alternative Energy) ที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศ เนื่องจากเป็นพลังงานที่สามารถผลิตได้จากวัตถุดิบที่มีอยู่ทั่วไป ทั้งในโรงงานอุตสาหกรรม ฟาร์มปศุสัตว์ และครัวเรือน สถานประกอบการและชุมชนต่างๆ โดยเฉพาะครัวเรือน สถานประกอบการและชุมชนต่าง หากมีการผลิตและใช้งานก๊าซชีวภาพจากวัตถุดิบที่มีอยู่ เช่น ขยะอินทรียื เศษอาหารและสิ่งปฏิกูลต่างๆอย่างแพร่หลาย จะช่วยให้สามารถลดการใช้พลังงานจากฟอสซิลได้อย่างมาก
ไฟล์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ที่มา http://webkc.dede.go.th/testmax/node/1185
ไฟล์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ที่มา http://webkc.dede.go.th/testmax/node/1185
ศักยภาพก๊าซชีวภาพ
ก๊าซชีวภาพ เป็นพลังงานหมุนเวียน ( Renewable Energy) ชนิดหนึ่งที่สามารถดำเนินการผลิตและใช้เป็นพลังงานทดแทนพลังงานจากฟอสซิล ( น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน) หรือจัดเป็นพลังงานทางเลือก (Alternative Energy) ที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศ เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเป็นประเทศเกษตรกรรม ทำให้มีวัตถุดิบที่สามารถนำมาผลิตก๊าซชีวภาพได้อย่างหลากหลาย เช่นของเสียหรือน้ำเสียจากภาคอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ภาคปศุสัตว์ ภาคชุมชนและสถานประกอบการต่างๆ หรือแม้แต่ของเหลือทิ้งทางการเกษตรหรือจากพืชพลังงานต่างๆ
ขอมูลเพิ่มเติม http://biogas.dede.go.th/biogas/web_biogas/
ศักยภาพพลังงานขยะ
การผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมขยะ
เนื่องจากชุมชนที่อยู่ในบริเวณใกล้ๆกับแหล่งกำจัดขยะ ประสบปัญหาอย่างมากจากแมลงวันที่รบกวน
และก่อความรำคาญ ปัญหากลิ่นขยะและการปนเปื้อนในดินและแหล่งน้ำ เทคนิคในการกำจัดมูลฝอยกลบขยะแบบปิดอย่างถูกสุขลักษณะเป็นวิธีการหนึ่งที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว แต่ก็ยังมีปัญหาเกี่ยวกับก๊าซที่เกิดจากขยะ ซึ่งถ้ามีปริมาณมากอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ในต่างประเทศได้กำจัดก๊าซนี้โดยการนำมาใช้เป็นพลังงาน เนื่องจากมีอินทรีย์สารประมาณ 60-80% ซึ่งสามารถนำมาหมัก เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพได้อย่างมหาศาล สำหรับการใช้ประโยชน์จากหลุมขยะ ในประเทศไทย ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียดอย่างจริงจัง กองทุนฯ จึงได้ให้การสนับสนุน ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลับเกษตรศาสตร์ ทำการทดลองใช้ก๊าซจากหลุมขยะของกรุงเทพมหานคร ที่อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีปริมาณขยะทั้งหมดรวม 8 ล้านตัน สามารถให้ก๊าซชีวภาพได้ 130,000 ลบ.ม./วัน ให้ค่าความร้อนเทียบเท่าน้ำมันดีเซล 65,000 ลิตร ก๊าซที่ได้จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงให้กับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 435 kW จำนวน 2 ชุด เพื่อเป็นแหล่งไฟฟ้าเสริมในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คาดว่าโรงไฟฟ้าแห่งนี้จะสามารถรับภาระการใช้ไฟปกติของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ 30-40% หลังจากใช้งานครบ 15 ปี คาดว่าจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 85.5 ล้านหน่วย ลดปัญหาการปล่อยก๊าซมีเทนประมาณ 399 ล้าน ลบ.ม. นอกจากนั้นยังช่วยลดการแพร่กระจายในทางราบของก๊าซและของไหลจากกองขยะ ภายในชั้นดินกลบด้วยอย่างไรก็ตาม โครงการนี้ยังไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จตามกำหนดเวลา เนื่องจากปริมาณและคุณภาพก๊าซที่ได้จากหลุมขยะฯ มีปริมาณและคุณภาพไม่เพียงพอ ที่จะเดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเพื่อให้โครงการฯ สามารถดำเนินการต่อไปจนบรรลุเป้าหมาย กองทุนฯ จึงได้ให้การสนับสนุนเพิ่มเติมในการศึกษาวิจัยแนวทางปรับปรุงปริมาณและคุณภาพก๊าซตามคำแนะนำจากUSEPA โดยการใช้วัสดุคลุมผิวหน้าดิน (Bentomat) ปูที่หลุมฝังกลบเดิม จำนวน 3 หลุม เพื่อป้องกันไม่ให้ออกซิเจนซึมผ่านผิวดินลงไปผสมกับก๊าซชีวภาพในหลุม และจำทำให้เปอร์เซ็นต์ของก๊าซมีเทนเพิ่มขึ้นและจะรวบรวมก๊าซในพื้นที่หลุมขยะใหม่ที่มีศักยภาพสูงกว่าเดิม ซึ่งจะลดปัญหาของระดับน้ำในขยะและความใหม่ของขยะจะช่วยทำให้ปริมาณก๊าซมีเทนที่เกิดขึ้นอยู่ในอัตราที่สูงกว่าด้วย
มาจาก : หนังสือสรุปผลการดำเนินงาน แผนงานภาคความร่วมมือ ในช่วงปี 2538-2542
ภายใต้แผนอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น | อัตราการเกิดขยะมูลฝอย (กก./คน/วัน) |
เทศบาลนคร | 1.89 |
เทศบาลเมือง | 1.15 |
เทศบาลตำบล | 1.02 |
องค์การบริหารส่วนตำบล | 0.91 |
เมืองพัทยา | 3.9 |
ที่มา: สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ (2554)
ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม http://mswenergy.dede.go.th/wastemap/
เล็กๆน้อยๆจากเพจกระทรวงพลังงาน
การเบิ้ลเครื่องยนต์ขณะที่รถจอดอยู่ เป็นการกระทำที่ไม่สร้างสรรค์อย่างยิ่งครับ เพราะนอกจากจะสิ้นเปลืองน้ำมันไป 5 ซีซีต่อการเบิ้ลเครื่องยนต์ 1 ครั้ง ยังเป็นการสร้างมลพิษให้โลกของเราด้วยครับ บางคนอาจจะอ้างว่าถ้าไม่เบิ้ลเครื่องแล้วมันจะดับ ทางแก้คือให้นำรถเข้าอู่เพื่อแก้ไข น่าจะเป็นทางออกที่ดีกว่านะครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)